• หน้าแรก
  • หลักสูตร
  • บทความ
  • ร้านค้า
  • ติดต่อเรา
    มีคำถามเกี่ยวกับ odoo ?
    (02) 4302475
    info@odoothaidev.com
    Login
    Odoothaidev - We are Odoo professional in Thailand
    • หน้าแรก
    • หลักสูตร
    • บทความ
    • ร้านค้า
    • ติดต่อเรา

      Linux

      • บ้าน
      • บล็อก
      • Linux
      • รีวิวการติดตั้ง Ubuntu 16.04 Server

      รีวิวการติดตั้ง Ubuntu 16.04 Server

      • โพสโดย admin
      • หมวดหมู่ Linux, Ubuntu
      • วันที่ กรกฎาคม 15, 2019
      • ความคิดเห็น 0 ความคิดเห็น
      • แท็ก linux, ubuntu

      2 ปีมีหน Ubuntu ได้ออกเวอร์ชันล่าสุด 16.04 ซึ่งเป็นเวอร์ชัน LTS (Long-term support) ที่ทาง Ubuntu จะสนับสนุนการอัพเดตปรับปรุงซอฟต์แวร์เป็นระยะเวลานานกว่าเวอร์ชันปกติ (5 ปี) ทำให้เหมาะสมกับการนำไปติดตั้งใช้เป็นเซิร์ฟเวอร์ในการทำงานจริง (Production)

      ลองมาดูรีวิวการติดตั้ง Ubuntu 16.04 เวอร์ชัน Server กัน โดยจะติดตั้ง LAMP server

      ดาวน์โหลดไฟล์ ISO

      เข้าเว็บไซต์ www.ubuntu.com เพื่อดาวน์โหลด

      01-Ubuntu-Web-Site

      เลือกเวอร์ชันที่เป็น Ubuntu Server กดปุ่ม Download

      02-Download-Ubuntu-Server

      ตัวอย่างไฟล์ iso ที่ดาวน์โหลดได้

      [admin@mac iso]$ ls -l ubuntu-16.04-server-amd64.iso
      -rw-r--r-- 1 admin staff 686817280 Apr 22 08:58 ubuntu-16.04-server-amd64.iso

      เพื่อให้แน่ใจว่าดาวน์โหลดได้ถูกต้องครบถ้วน แนะนำให้ตรวจสอบ checksum ว่าตรงกับค่าที่แสดงบนเว็บ

      http://releases.ubuntu.com/16.04/MD5SUMS

      เช่นตรวจสอบโดยใช้ md5sum

      [admin@mac iso]$ md5 ubuntu-16.04-server-amd64.iso
      MD5 (ubuntu-16.04-server-amd64.iso) = 23e97cd5d4145d4105fbf29878534049

      ถ้าตรงกันแสดงว่าไฟล์ iso ที่เราดาวน์โหลดมาถูกต้อง ครบถ้วน สามารถนำไปใช้บู๊ตติดตั้งได้

      บู๊ตติดตั้ง UBUNTU 16.04 SERVER

      หน้าจอแรกของการติดตั้งเป็นการเลือกภาษา (Language)

      A1-Language-Selection

      ตัวอย่างหน้าจอการติดตั้งเมื่อเลือกภาษาเป็น Thai

      A01-thai-menu

      ในที่นี้ขอเลือก English

      หน้าจอเมนูเริ่มการติดตั้ง

      เลือก Install Ubuntu Server

      A2-Menu

      หน้าจอเลือกภาษา

      เลือก English – English

      A3-Select-a-Language

      เลือกสถานที่อยู่ของคุณ สำหรับใช้คอนฟิก Timezone

      สำหรับประเทศไทย เลือก Other -> Asia -> Thailand

      A4-Select-Location

      เลือกภาษาที่ใช้แสดงผล (locales)

      เลือก United States – en_US.UTF-8

      A5-Configure-locales

      คอนฟิกคีย์บอร์ด

      เลือก No เพื่อไม่ต้อง Detect keyboard layout

      A6-Configure-the-Keyboard

      เลือก Layout ของคีย์บอร์ด

      ลองเลือก Thai ดู

      A7-Configure-Keyboard

      A8-Configure-Thai-Keyboard

      เลือกปุ่มในการสลับภาษา

      เลือก “Alt+Shift”

      A9-Configure-toggle

      หากเครื่องที่ติดตั้งมีหลายเน็ตเวิร์คพอร์ต จะมีหน้าจอให้เลือกพอร์ตที่ใช้

      A11-select-primary-network

      หน้าจอคอนฟิกชื่อเครื่อง Hostname

      ใส่ชื่อเครื่องที่ต้องการ

      A12-Configure-hostname

      หน้าจอสร้างผู้ใช้งาน

      ระบุ Full name, Username, Password สำหรับผู้ใช้งานที่ต้องการเพิ่ม

      โดยผู้ใช้งานที่สร้างนี้จะมีสามารถใช้ sudo เพื่อรันคำสั่ง root ได้

      A13-new-user

      A15-password

      a16-encrypt-home

      หน้าจอแสดง Timezone ที่ได้จากการเลือกสถานที่ (location) ถ้าถูกต้องก็ตอบ Yes

      A19-timezone

      การแบ่ง partition ของดิสก์ ในเบื้องต้นแนะนำให้เลือกดีฟอลต์

      A20-disk-partition

      A21-write-changes

      หน้าจอคอนฟิก proxy สำหรับใช้ในคำสั่ง package manager เพื่อให้สามารถเชื่อมต่ออินเทอร์เน็ตได้

      ถ้าไม่มีก็ไม่ต้องระบุ กด Continue ต่อไปได้เลย

      A24-http-proxy

      หน้าจอคอนฟิก tasksel ว่าจะตั้งให้มีการอัพเดตโปรแกรมโดยอัตโนมัติไหม

      ในที่นี้ขอเลือก No automatic updates

      A26-configure-update

      เลือกชุดโปรแกรมที่จะติดตั้ง

      ในที่นี้ขอเลือก LAMP server, standard system utilities, OpenSSH server

      A27-software-selection

      ถ้าเลือกติดตั้ง LAMP server จะมี MySQL ติดตั้งมาด้วย จะมีหน้าจอให้ตั้งรหัสผ่านของ root ของ MySQL

      A28-configure-mysql-root

      หน้าจอยืนยันการติดตั้ง grub ลงใน master boot record

      A29-grub

      หน้าจอแสดงการติดตั้งสิ้นสุด

      กด Continue เพื่อรีบู๊ตเครื่อง

      A30-finish

       

      บู๊ตเครื่องหลังการติดตั้ง

      หน้าจอบู๊ตเครื่อง grub

      B01-boot-menu

      ตัวอย่างข้อความตอนบู๊ตเครื่อง

      B02-booting-screen

      หน้าจอ login

      B03-login-prompt

      ตัวอย่างหน้าจอการ login ครั้งแรก

      B04-first-logged

      พื้นที่ดิสก์ที่ใช้ในการติดตั้งจะใช้ประมาณ 1.6 GB (เลือกติดตั้ง LAMP server, standard system utilities, OpenSSH server)

      alice@ubuntu:~$ df -h
      Filesystem                   Size  Used Avail Use% Mounted on
      udev                         982M     0  982M   0% /dev
      tmpfs                        201M  3.3M  197M   2% /run
      /dev/mapper/ubuntu--vg-root   35G  1.6G   31G   5% /
      tmpfs                       1001M     0 1001M   0% /dev/shm
      tmpfs                        5.0M     0  5.0M   0% /run/lock
      tmpfs                       1001M     0 1001M   0% /sys/fs/cgroup
      /dev/sda1                    472M   55M  393M  13% /boot
      tmpfs                        201M     0  201M   0% /run/user/1000
      

      Ubuntu 16.04 ใช้ Kernel 4.4.0

      alice@ubuntu:~$ uname -a
      Linux ubuntu 4.4.0-21-generic #37-Ubuntu SMP Mon Apr 18 18:33:37 UTC 2016 x86_64 x86_64 x86_64 GNU/Linux

      ตัวอย่างการเรียกใช้เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ติดตั้งมาโดยดีฟอลต์

      C01-Apache2-Ubuntu-Default-Page

      สร้างไฟล์ php เพื่อแสดงค่าจาก phpinfo()

      alice@ubuntu:~$ sudo vi /var/www/html/test.php
      <?php
      
      phpinfo();

      ตัวอย่างหน้าจอเว็บแสดงผลลัพธ์จาก phpinfo()

      C02-PHP-Version-7

      เว็บเซิร์ฟเวอร์ที่ติดตั้งมาในชุด LAMP คือ Apache 2.4.18

      alice@ubuntu:~$ apache2 -v
      Server version: Apache/2.4.18 (Ubuntu)
      Server built: 2016-04-15T18:00:57
      alice@ubuntu:~$

      เซิร์ฟเวอร์ฐานข้อมูลเป็น MySQL 5.7.11

      alice@ubuntu:~$ mysql -V
      mysql Ver 14.14 Distrib 5.7.11, for Linux (x86_64) using EditLine wrapper

      ส่วน PHP เป็นเวอร์ชัน 7

      alice@ubuntu:~$ php -v
      PHP 7.0.4-7ubuntu2 (cli) ( NTS )
      Copyright (c) 1997-2016 The PHP Group
      Zend Engine v3.0.0, Copyright (c) 1998-2016 Zend Technologies
      with Zend OPcache v7.0.6-dev, Copyright (c) 1999-2016, by Zend Technologies

      รายละเอียดอื่นๆ สามารถดูที่ได้ใน ReleaseNotes https://wiki.ubuntu.com/XenialXerus/ReleaseNotes

      ข้อมูลอ้างอิง

      • http://www.ubuntu.com/

      แท็ก:linux, ubuntu

      • Share:
      อวตารของผู้เขียน
      admin

      โพสต์ก่อนหน้า

      How to download and install prebuilt OpenJDK packages
      กรกฎาคม 15, 2019

      โพสต์ถัดไป

      การติดตั้ง PostgreSQL ใน Window
      กรกฎาคม 15, 2019

      คุณอาจชอบ

      How to check if port is in use on Linux or Unix
      22 พฤศจิกายน, 2022

      How do I determine if a port is in use u …

      3 Ways to Find Out Which Process Listening on a Particular Port
      24 สิงหาคม, 2021

      A port is a logical entity which represe …

      ทิ้งคำตอบไว้

      อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *

      ค้นหาบทความ

      หมวดหมู่

      หมวดหมู่

      • Accounting
      • Adobe XD
      • API
      • Blog
      • Business
      • Buttons
      • CRM
      • Custom Fields
      • Design / Branding
      • Django
      • Ecommerce
      • ERP
      • ERP Flow
      • Express
      • Flectra
      • Form View
      • Frontend
      • Github
      • Github
      • Grant Chart
      • Header
      • iReport
      • Jasper Server & Server
      • Jaspersoft Studio
      • Java
      • JSON-RPC
      • Lazada
      • Linux
      • MLM
      • MRP
      • Nignx Proxy
      • NodeJS
      • Odoo 10
      • Odoo 12 Module
      • Odoo 13
      • Odoo 14 Development
      • Odoo 16
      • Odoo 8
      • Odoo 9
      • Odoo API
      • Odoo Certification
      • Odoo Developer
      • Odoo Ebook
      • Odoo Enterprise
      • Odoo ERP
      • Odoo Event
      • Odoo Implement
      • Odoo Inventory
      • Odoo Report
      • Odoo V15
      • Open Source
      • Open-office
      • OpenERP 7.0
      • PhantomJS
      • Postgres SQL
      • Programming Language
      • Project Management
      • Python
      • Python3
      • Qweb
      • Reporting ระบบรายงาน
      • RML Report
      • Search View and Filters
      • Social Network
      • Statusbar
      • Ubuntu
      • Uncategorized
      • Voip & Call Center
      • Warehouse Management
      • WMS
      • Woocommerce
      • Workflow
      • XML-RPC
      • การ Implement
      • การเก็บข้อมูล Pre-Requirement
      • การเตรียมตัวเพื่อใช้งาน erp
      • ความรู้ด้านการตลาด CRM
      • ธีมเว็บไซต์ Odoo
      • ธุรกิจบริการ
      • ธุรกิจประเภทจัดอบรมสัมมนา
      • ธุรกิจสิ่งพิมพ์
      • นักพัฒนา
      • ประเภทธุรกิจที่เหมาะกับ Odoo
      • ระบบบัญชี
      • ระบบเคลม
      • ลิขสิทธิ์ – License
      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Free
      From Zero to Hero with Nodejs

      From Zero to Hero with Nodejs

      Free
      Learn Python – Interactive Python

      Learn Python – Interactive Python

      $69.00

      บทความล่าสุด

      V16 Planned Date of Tasks are invisible.
      12ก.พ.2023
      Odoo Implement Methodology
      29พ.ย.2022
      Odoo Enterprise Subscription Agreement
      29พ.ย.2022
      (02) 430-2475
      info@odoothaidev.com
      Facebook Twitter Google-plus Pinterest

      Odoothaidev by OdooTeaM.

      • Privacy
      • Terms
      • Sitemap
      • Purchase

      เข้าสู่ระบบด้วยบัญชีเว็บไซต์ของคุณ

      ลืมรหัสผ่าน?

      Click to Copy