• หน้าแรก
  • หลักสูตร
  • บทความ
  • ร้านค้า
  • ติดต่อเรา
    มีคำถามเกี่ยวกับ odoo ?
    (02) 4302475
    info@odoothaidev.com
    Login
    Odoothaidev - We are Odoo professional in Thailand
    • หน้าแรก
    • หลักสูตร
    • บทความ
    • ร้านค้า
    • ติดต่อเรา

      Open Source

      • บ้าน
      • บล็อก
      • Open Source
      • Open Source คืออะไร

      Open Source คืออะไร

      • โพสโดย alex
      • หมวดหมู่ Open Source
      • วันที่ พฤศจิกายน 29, 2022

      Open Source คืออะไร
               โอเพนซอร์ซ หรือ โอเพนซอร์ส (Open source) คือวิธีการในการออกแบบ พัฒนา และแจกจ่ายสำหรับต้นฉบับของสินค้าหรือความรู้ โดยเฉพาะซอฟต์แวร์ โดยโอเพนซอร์ซถูกพิจารณาว่าเป็นทั้งรูปแบบหนึ่งในการออกแบบ และแผนการในการดำเนินการ โดยโอเพนซอร์ซเปิดโอกาสให้บุคคลอื่นนำเอาระบบนั้นไปพัฒนาได้ต่อไป
      นอกเหนือจากด้านซอฟต์แวร์คำว่าโอเพนซอร์ซยังคงเริ่มนำมาใช้ในส่วนของ
      ไบโอเทคโนโลยี

      ซอฟต์แวร์ Open Source ต่างกับซอฟต์แวร์อื่นอย่างไร?
          * โดยทั่วไปรูปแบบของไลเซนต์ และการแจกจ่ายซอฟต์แวร์มีหลายรูปแบบ โดยสามารถจำแนกได้ตามเกณฑ์ 2 ด้าน คือ
      1. การให้พร้อมซอร์สโค้ด
      2. การคิดค่าใช้จ่าย

      * ซอร์สโค้ด หมายถึง รหัสซอฟต์แวร์ต้นฉบับที่เขียนโดยภาษาระดับสูง ซึ่งแตกต่างจากไบนารีโค้ด เพราะซอฟต์แวร์ Open Source เปิดเผยโครงสร้าง และลอจิกของโปรแกรม
      * ซอฟต์แวร์ที่ให้เฉพาะไบนารีโค้ดอย่างเดียว เรียกว่า ซอฟต์แวร์ปิด (closed source)

      Linux ubuntu Fed Hat คืออะไร

      ทั้งสองตัวเป็นระบบปฏิบัติการหรือ operating system หรือ OS คล้ายๆกะวินโดว์ เพียงแต่เป็นระบบที่วางตัวอยู่บนพื้นฐานของระบบที่เรียกว่า UNIX ที่มีความยืดหยุ่นสูง เพราะเป็นระบบเปิด คือให้ใครก็ได้สามารถพัฒนาปรับปรุงได้ ส่วน Ubuntu ก็เป็นชื่อของ OS ที่เป็น  Linux ก็คล้ายๆกับ Redhat, slackware, SUSE พวกนี้ก็เป็น Linux เหมือนกัน แต่เป็นของแต่ละค่ายแต่ละบริษัท
      Ubuntu เหมือนหรือแตกต่างจาก Redhat อย่างไร
      –  ต่างกัน  Ubuntu  เป็นการใช้งานแบบระบบปฏิบัติการส่วน Redhat  เป็นชุดโปรแกรมสำหรับเพิ่มและถอดโปรแกรมโดยไม่ต้องคอมไฟล์ใหม่

       

      Linux ubuntu FedHat  คืออะไร
      วิวัฒนาการของ ubuntu
      ประวัติและลำดับการพัฒนา
      Ubuntu เปิดตัวเป็นครั้งแรกเมื่อวันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 2004 โดยเริ่มจากการแยกตัวชั่วคราวออกมาทำจากโครงการ Debian GNU/Linux เมื่อเสร็จสิ้นคราวนั้นแล้วก็ได้มีการออกตัวใหม่ๆทุก 6 เดือน และมีการอับเดตระบบอยู่เรื่อยๆ Ubuntu เวอร์ชันใหม่ๆที่ออกมาก็ได้ใส่ GNOME เวอร์ชันล่าสุดเข้าไปด้วย โดยแผนการเปิดตัวทุกครั้งจะออกหลังจาก GNOME ออกหนึ่งเดือน ซึ่งตรงข้ามกับทางฝั่งที่แยกออกมาจาก Debian อื่นๆ เช่นพวก MEPIS, Xandros, Linspire, Progeny และ Libranet ทั้งหมดล้วนมีกรรมสิทธิ์ และไม่เปิดเผยCode ซึ่งเป็นส่วนที่อยู่ในรูปแบบธุรกิจ Ubuntu เป็นตัวปิดฉากหลักการของ Debian และมีการใช้งานฟรีมากที่สุดในเวลานี้
      โลโก้ของ Ubuntu ยังคงใช้รูปแบบเดิมตั้งแต่เปิดตัวครั้งแรก ซึ่งสร้างโดย แอนดี้ ฟิสสิมอน ฟอนต์ได้รับการแจกมาจาก Lesser General Public License แล้วก็ได้มาเป็นโลโก้Ubuntu
      ส่วนประกอบต่างๆของUbuntu ส่วนใหญ่มีพื้นฐานมาจากความไม่แน่นอนของ Debian โดยทั้งสองใช้ Debian’s deb package format และ APT/Synaptic เป็นตัวจัดการการติดตั้งส่วนประกอบต่างๆ
      Ubuntu ร่วมมือกับ Debian ในการผลักดันให้เปลี่ยนกลับไปเป็น Debian ถึงแม้ว่าว่าได้มีการวิพากษ์วิจารณ์ว่าไม่น่าจะเป็นไปได้ ส่วนประกอบของทั้งสองไม่สามารถเข้ากันได้ ผู้พัฒนาUbuntuหลายๆคนว่ามีตัวจัดการรหัสของส่วนประกอบของDebianอยู่ภายใน ตัวมันเอง อย่างไรก็ตาม แลน เมอดั๊ก ผู้คิดค้น Debian ได้วิจารณ์ในเรื่องความเข้ากันไม่ได้ในหลายๆอย่าง ระหว่างส่วนประกอบของ Ubuntu กับ Debian กล่าวไว้ว่า Ubuntu แตกต่างเป็นอย่างมากจาก Debian ในเรื่องความเข้ากันได้
      นั้นคือแผนการที่จะแตกแยกโดยมีชื่อเรือกว่า Grumpy Groundhog มันควรจะมั่นคงแน่นอนในการพัฒนาและทดสอบ ผลักดันให้ซอร์สโค๊ด ออกไปโดยตรงจาก การควบคุมการแก้ไข ของโปรแกรมต่างต่างๆ และโปรแกรมประยุกต์นั้นก็ได้โอนย้ายไปเป็นส่วนของ Ubuntu นั่นควรจะอนุญาตให้ เหล่าpower users และ upstream developers ในการทดสอบโปรแกรมส่วนบุคคล พวกเขาน่าจะได้ทำหน้าที่ ถ้าโปรแกรมได้ถูกกำหนดเป็นส่วนประกอบที่ได้ทำการแจกจ่ายแล้ว นอกจากนี้แล้วยังต้องการที่จะสร้างส่วนประกอบขึ้นมาด้วยตัวของพวกเขาเอง มันควรจะสามารถจัดเตรียมล่วงหน้า ก่อนคำเตือนของการสร้างที่ผิดพลาด บนโครงสร้างที่แตกต่างกัน ซึ่งเป็นการเตรียมการเอาไว้ของ กัมไปร์ กราวฮ๊อก ร่วมมือกับ Debian Unstable ทุกๆ 6 เดือน และกัมไปร์ กราวฮ๊อก ได้ทำให้เป็นซอฟแวร์แบบสาธารณะแล้ว
      ปัจจุบัน Ubuntu ได้รับเงินทุนจาก บริษัท Canonical ในวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ. 2005 นายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ และ บริษัทCanonical ประกาศสร้าง Ubuntu Foundation และเริ่มให้ทุนสนับสนุน 10 ล้านเหรียญสหรัฐ จุดมุ่งหมายของการริเริ่มที่แน่นอนว่าจะสนับสนุนและพัฒนา เวอร์ชันต่อๆไปข้างหน้าของ Ubuntu แต่ในปี ค.ศ. 2006 จุดมุ่งหมายก็ได้หยุดลง นาย มาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ กล่าวว่าจุดมุ่งหมายที่จะได้เงินทุนฉุกเฉินจากความสัมพันธ์กับบริษัท Canonical คงจบลง
      ในช่วงเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 2007 ได้มี Ubuntu Live 2007ขึ้น นายมาร์ก ชัทเทิลเวิร์ธ ประกาศว่า Ubuntu 8.04 (กำหนดการออกเดือนเมษายน ค.ศ. 2008) จะมีการสนับสนุน Long Term Support (LTS) เขาได้ดึงบริษัท Canonical มาเป็นคณะกรรมการในการออกเวอร์ชันการสนับสนุนLTSใหม่ๆทุกๆ 2 ปี

       

      เมื่อ พูดถึง Ubuntu เป็นไปไม่ได้ที่จะไม่พูดถึง มาร์ค ชัตเติ้ลเวิร์ธ นักธุรกิจหนุ่มจากแอฟริกาใต้ ผู้ริเริ่มโครงการ ขึ้นมาในปี 2547 โดยจัดตั้งเป็นมูลนิธิอูบุนตูในปีถัดมาภายใต้การสนับสนุนเงินทุนเบื้องต้น 10 ล้านเหรียญจากบริษัท Canonical ที่ตั้งขึ้นมาเพื่อสนับสนุนผลักดันโครงการฟรี ซอฟต์แวร์ และ โอเพ่น ซอร์ส ซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะ
      ขายบริการสนับสนุนแบบครบวงจรให้กับผู้ใช้โอเพ่น ซอร์ส ซอฟต์แวร์ โดยมีอูบุนตูเป็นแกนกลาง โดยรูปแบบมันไปสอาจจะคล้ายกับ เรดแฮท เพียงแต่แนวคิดและปรัชญาของ มาร์คชัตเติ้ลเวิร์ธ นั้นยึดหลักโอเพ่นซอร์ส อย่างเหนียวแน่น และออกแรงผลักดันอย่างแข็งขัน ด้วยความเชื่อว่า ซอฟต์แวร์ควรจะเป็นฟรีที่ทุกคนเข้าถึงได้ ใช้งานได้จริง ยืดหยุ่นปรับแต่งได้ให้สอดคล้องกับความต้องการของแต่ละคน
      และ แบ่งปันสิ่งที่ต่อยอดมาได้ให้กับผู้อื่น
      ไม่ใช่เก็บเกี่ยวสิ่งที่ชุมชนโอเพ่น ซอร์สช่วยกันละไม้คละมือพัฒนาไปทำมาหากินลูกเดียว
      Ubutu เป็นคำท้องถิ่นแถบ ซับ-ซาฮาร่า ที่หมายถึงการร่วมไม้ร่วมมือกันเพื่อผู้อื่น humanity for others

       

      ปัจจุบัน มาร์ค ชัตเติ้ลเวิร์ธ มีชื่อเสียงเคียงคู่กับอูบุนตู ทว่าชื่อเสียงของเขามีมาก่อนหน้านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อปี 2545 ที่เขาเข้าร่วมเดินทางไปในอวกาศกับยานโซยุซ ของรัสเซีย ด้วยค่าใช้จ่าย 20 ล้านเหรียญสหรัฐ เพราะความหลงใหลในการบินอวกาศมาตั้งแต่เด็ก

      แต่ย้อนก่อนหน้า นี้ขึ้นไปอีก ในปี 2538ช่วงปีสุดท้ายระหว่างเรียนอยู่ในมหาวิทยาลัยเคปทาวน์ แอฟริกาใต้ ชัตเติ้ลเวิร์ธตั้งบริษัท Thawteมีความเชี่ยวชาญทางด้านความปลอดภัยบนอินเทอร์เน็ต และ ดิจิตัลเซอร์ติฟิเกต เป็นบริษัทแรกที่จัดตั้งอี-คอมเมิร์ซ เว็บ เซิร์ฟเวอร์ ที่มีการเข้ารหัสระบบความปลอดภัยเต็มรูปแบบ ในวงการถือเป็นบุคคลชั้นนำของโลกด้านนี้

      เขาขาย Thawte ให้กับ Verisign ไปในปีเดียวกัน ได้เงินมาราวๆหมื่นกว่าล้านบาท แล้วก่อตั้งบริษัท HBD Venture Capital ขึ้นมาเพื่อบ่มเพาะธุรกิจและสนับสนุนเงินทุนแก่ธุรกิจใหม่ๆ

      ความสนใจที่ มีต่อโอเพ่นซอร์ส ซอฟต์ของชัตเติ้ลเวิร์ธ นั้นมีมานานแล้ว เขาเป็นหนึ่งในคนที่มีส่วนร่วมในการพัฒนา เดเบียน ลินุกซ์ ตั้งแต่สมัยที่ยังเรียนอยู่ หลังจากเลิกวุ่นวายกับอวกาศ ก็กลับมาสู่วงจรของโอเพ่นซอร์ส อีกครั้งด้วยโครงการอูบุนตู

      ในเวลาเพียงไม่กี่ปี อูบุนตู ก็ขึ้นมายืนอยู่แถวหน้าของลินุกซ์

      คาดกัน ว่าปีหน้าจะเป็นปีทองของลินุกซ์ หลังจาก เดลล์ คอมพิวเตอร์ขายคอมพิวเตอร์ที่ลงอูบุนตู พร้อมบริการหลังการขายในอเมริกา และยุโรปหลายประเทศ ตามด้วย เอชพี และ เลอโนโว ขณะที่ เทสโก้ก็ทำอย่างเกียวกันแต่ไม่รวมบริการหลังการขาย

      มาร์ค ชัตเติ้ลเวิร์ธ เป็นคนที่น่าพูดถึงไม่ใช่เพราะความดัง ความสำเร็จอะไร แต่เพราะวิธีคิดและปรัชญา ความมุ่งมั่นของเขาที่ทุ่มเทให้กับโลกใบนี้

      • Share:
      อวตารของผู้เขียน
      alex

      โพสต์ก่อนหน้า

      Upgrade Insecure Requests on Nginx สำหรับ Odoo 16
      พฤศจิกายน 29, 2022

      โพสต์ถัดไป

      โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์
      พฤศจิกายน 29, 2022

      คุณอาจชอบ

      โอเพนซอร์สซอฟต์แวร์
      29 พฤศจิกายน, 2022

      จากปัญหาการใช้ซอฟต์แวร์ผิดกฎหมาย การละเม …

      ค้นหาบทความ

      หมวดหมู่

      หมวดหมู่

      • Accounting
      • Adobe XD
      • API
      • Blog
      • Business
      • Buttons
      • CRM
      • Custom Fields
      • Design / Branding
      • Django
      • Ecommerce
      • ERP
      • ERP Flow
      • Express
      • Flectra
      • Form View
      • Frontend
      • Github
      • Github
      • Grant Chart
      • Header
      • iReport
      • Jasper Server & Server
      • Jaspersoft Studio
      • Java
      • JSON-RPC
      • Lazada
      • Linux
      • MLM
      • MRP
      • Nignx Proxy
      • NodeJS
      • Odoo 10
      • Odoo 12 Module
      • Odoo 13
      • Odoo 14 Development
      • Odoo 16
      • Odoo 8
      • Odoo 9
      • Odoo API
      • Odoo Certification
      • Odoo Developer
      • Odoo Ebook
      • Odoo Enterprise
      • Odoo ERP
      • Odoo Event
      • Odoo Implement
      • Odoo Inventory
      • Odoo Report
      • Odoo V15
      • Open Source
      • Open-office
      • OpenERP 7.0
      • PhantomJS
      • Postgres SQL
      • Programming Language
      • Project Management
      • Python
      • Python3
      • Qweb
      • Reporting ระบบรายงาน
      • RML Report
      • Search View and Filters
      • Social Network
      • Statusbar
      • Ubuntu
      • Uncategorized
      • Voip & Call Center
      • Warehouse Management
      • WMS
      • Woocommerce
      • Workflow
      • XML-RPC
      • การ Implement
      • การเก็บข้อมูล Pre-Requirement
      • การเตรียมตัวเพื่อใช้งาน erp
      • ความรู้ด้านการตลาด CRM
      • ธีมเว็บไซต์ Odoo
      • ธุรกิจบริการ
      • ธุรกิจประเภทจัดอบรมสัมมนา
      • ธุรกิจสิ่งพิมพ์
      • นักพัฒนา
      • ประเภทธุรกิจที่เหมาะกับ Odoo
      • ระบบบัญชี
      • ระบบเคลม
      • ลิขสิทธิ์ – License
      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Introduction LearnPress – LMS plugin

      Free
      From Zero to Hero with Nodejs

      From Zero to Hero with Nodejs

      Free
      Learn Python – Interactive Python

      Learn Python – Interactive Python

      $69.00

      บทความล่าสุด

      Odoo Implement Methodology
      29พ.ย.2022
      Odoo Enterprise Subscription Agreement
      29พ.ย.2022
      Odoo Partnership Agreement
      29พ.ย.2022
      (02) 430-2475
      info@odoothaidev.com
      Facebook Twitter Google-plus Pinterest

      Odoothaidev by OdooTeaM.

      • Privacy
      • Terms
      • Sitemap
      • Purchase

      เข้าสู่ระบบด้วยบัญชีเว็บไซต์ของคุณ

      ลืมรหัสผ่าน?

      Click to Copy